dada
Newbie
ออฟไลน์
กระทู้: 140
|
 |
« ตอบ #60 เมื่อ: ธันวาคม 31, 2009, 11:58:09 PM » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
คนร้ายในคราบนักบุญ น่าสะพึงกลัวกว่าสิ่งใด
|
|
|
|
dada
Newbie
ออฟไลน์
กระทู้: 140
|
 |
« ตอบ #62 เมื่อ: มกราคม 01, 2010, 12:42:09 PM » |
|
ขอบคุณค่ะ เพิ่งได้ sms เมื่อกี้เอง
สวัสดี เพื่อนร่วมห้อง "เพื่อสุขภาพ" มีความสุข สมปรารถนา ตลอดปีและตลอดไปนะค่ะ และ นกเอี้ยง
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
คนร้ายในคราบนักบุญ น่าสะพึงกลัวกว่าสิ่งใด
|
|
|
jainu
|
 |
« ตอบ #63 เมื่อ: มกราคม 01, 2010, 08:45:59 PM » |
|
แน่ใจหรือว่า?คุณแพ้ยา แน่ใจหรือว่า?คุณแพ้ยา  คุณเคยแพ้ยาอะไรหรือเปล่า คุณคงได้ยินคำถามนี้เช่นเดียวกันใช่ไหมคะ? ภญ.อัมพร อยู่บาง คุณเคยแพ้ยาอะไรหรือเปล่า เป็นคำถามหนึ่งที่น่าสนใจ หลายท่านที่ไปรับบริการตรวจรักษาที่โรงพยาบาล หรือรับบริการที่ร้านขายยา คงได้ยินคำถามนี้เช่นเดียวกันใช่ไหมคะ? สาเหตุที่เป็นคำถามฮ็อตฮิตติดปากของทั้งแพทย์และเภสั ชกร ก็เพราะว่าอาการแพ้ยาเป็นอาการที่ค่อนข้างอันตราย อาจถึงขั้นพิการหรือเสียชีวิตได้อย่างที่เห็นเป็นข่า วมากมายในปัจจุบัน บุคลากรทางการแพทย์จึงต้องมีการสอบถามประวัติของท่าน อย่างถี่ถ้วนทุกครั้งก่อนให้การรักษา ดังนั้นฉบับนี้เรามาทำความรู้จักกับการแพ้ยากันดีกว่ าค่ะ เพื่อให้แน่ใจว่าอาการที่เคยเกิดขึ้นกับคุณในระหว่าง ที่ใช้ยาอยู่นั้น ใช่การแพ้ยาจริงหรือหลอก???
คำต่างกัน ความหมายก็ต่างกัน หลายท่านคงเคยได้ยินแพทย์ เภสัชกร หรืออาจเคยเห็นในเอกสารกำกับยาพูดถึงอาการไม่พึงประส งค์จากยา ผลข้างเคียงจากการใช้ยา และการแพ้ยา เคยสงสัยบ้างไหมคะว่าคำเหล่านี้ต่างกันอย่างไร?
อาการไม่พึงประสงค์จากยา (adverse drug reaction) โดยทั่วไปจะหมายรวมถึง ผลข้างเคียงจากการใช้ยา และการแพ้ยา ผลข้างเคียงจากยา (side effect) เป็นอาการที่เกิดขึ้นได้กับทุกคนที่ใช้ยาชนิดนั้นๆ ไม่ว่าจะเป็นเด็ก หรือผู้ใหญ่ อาการที่เกิดขึ้นจะสัมพันธ์กับขนาดยาที่ได้รับ โดยแพทย์ หรือเภสัชกรสามารถคาดการณ์ได้ว่า เมื่อใช้ยาชนิดนี้จะทำให้เกิดผลข้างเคียงอะไรบ้าง และมีวิธีการแก้ไข หรือป้องกันอย่างไร เพื่อให้เกิดผลข้างเคียงจากการใช้ยาดังกล่าวน้อยที่ส ุด หรือไม่เกิดขึ้นเลย ยกตัวอย่างเช่น ยา A มีผลข้างเคียงจากการใช้ยาคือ ทำให้คลื่นไส้ อาเจียนได้ ดังนั้นคนที่กินยา A ทุกคน สามารถเกิดอาการดังกล่าวได้ โดยบางคนอาจมีความไวต่อยามาก จึงทำให้เมื่อกินยาแล้ว มีอาการคลื่นไส้ อาเจียนตลอดจนไม่สามารถกินยาต่อไปได้ แต่บางคนสามารถทนต่อยาได้ดี จึงไม่ค่อยเกิดผลข้างเคียงจากยา ทำให้สามารถกินยาต่อไปได้โดยไม่มีอาการใดๆ เลย ซึ่งแพทย์ หรือเภสัชกรก็จะแนะนำวิธีที่ช่วยลด หรือป้องกันไม่ให้เกิดผลข้างเคียงดังกล่าวขึ้น เช่นแนะนำให้กินยาหลังอาหารทันที หรืออาจลดขนาดยาลงในคนที่ไวต่อยามาก
การแพ้ยา (drug allergy) เป็นอาการที่เกิดขึ้นจากการที่ภูมิคุ้มกันของร่างกาย สร้างปฏิกิริยาต่อยาที่ได้รับ ซึ่งอาการดังกล่าวจะเกิดขึ้นกับบางคนเท่านั้น โดยแพทย์ หรือเภสัชกรไม่สามารถคาดการณ์ได้ว่าใครบ้างที่จะเกิด อาการแพ้ยา และอาการที่เกิดขึ้นจะไม่สัมพันธ์กับขนาดยาที่ได้รับ จึงทำให้ไม่มีวิธีใดที่สามารถป้องกันการแพ้ยาได้ ยกตัวอย่างเช่น ในกรณีที่แพ้ยา B อาจทำให้มีอาการแน่นหน้าอก หายใจไม่ออก หน้าบวม ตัวบวม มีผื่นคล้ายลมพิษขึ้น หน้ามืด หมดสติได้ ดังนั้นบางคนเมื่อกินยา B แล้ว อาจเกิดอาการแพ้ยาดังกล่าวได้ แต่บางคนสามารถใช้ยาดังกล่าวได้โดยไม่มีอาการผิดปกติ ใดๆ
ใครบ้าง...ที่มีโอกาสแพ้ยา? จากที่ได้กล่าวข้างต้นว่าการแพ้ยาเป็นอาการที่ไม่สาม ารถคาดการณ์ได้ ดังนั้นทุกคนจึงมีโอกาสแพ้ยาได้ ไม่ว่าจะเคยมีหรือไม่มีประวัติแพ้ยามาก่อนหรือไม่ก็ต าม เพราะบางคนไม่เคยมีประวัติแพ้ยา และเคยใช้ยาชนิดนั้นมาแล้วหลายครั้งโดยไม่มีความผิดป กติใดๆ แต่เมื่อใช้ยาตัวเดิมในครั้งต่อมาก็อาจเกิดอาการแพ้ย าได้ แต่ในกรณีผู้ที่มีประวัติแพ้ยามาแล้ว หากมีการใช้ยาตัวเดิมซ้ำอีกครั้ง ก็อาจมีอาการแพ้ยาที่รุนแรงมากขึ้นเรื่อยๆ ซึ่งในบางรายอาจถึงขั้นเสียชีวิตได้ นอกจากนี้ผู้ที่มีประวัติเป็นโรคหืด ภูมิแพ้ ผื่นแพ้ผิวหนัง มีประวัติแพ้อาหาร หรือสารเคมีบางชนิด หรือมีภาวะภูมิคุ้มกันบกพร่อง จะมีโอกาสที่จะเกิดการแพ้ยาได้ง่ายกว่าคนทั่วไป
เราแพ้ยาอะไรได้บ้าง? จากสรุปรายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ผลิตภัณฑ์ส ุขภาพในประเทศไทย (มกราคม-30 มิถุนายน 2550) พบว่า กลุ่มยาที่มีรายงานการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการใ ช้ยามากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ ยาปฏิชีวนะกลุ่มเพนนิซิลิน (penicillin) และกลุ่มซัลฟา(sulfonamide) รองลงมาเป็นยาในกลุ่มยาต้านอักเสบที่ไม่ใช่สเตียรอยด ์ (non-steroid antiinflamatory drugs; NSAIDs) และยาในกลุ่มยากันชัก ตามลำดับ อย่างไรก็ตามยาทุกตัวมีโอกาสก่อให้เกิดการแพ้ยาได้เช ่นเดียวกันไม่เพียงแค่ยา 3 กลุ่มนี้เท่านั้นนะคะ
แพ้ยา... มีอาการอย่างไร? อาการแพ้ยาสามารถเกิดขึ้นได้หลายรูปแบบ สามารถแบ่งตามความรุนแรงของอาการได้ดังนี้ รุนแรงน้อย ส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นหลังจากกินยาประมาณ 1 ชั่วโมง จนถึง 1-2 สัปดาห์ ได้แก่ ผื่นลมพิษ ผื่นแดง ตุ่มน้ำผุพอง ผิวหนังลอก คันตามผิวหนังหรือตา ริมฝีปาก ตา หรือหน้าบวม รุนแรงมาก อาจทำให้เสียชีวิตได้ หากไม่ได้รับการรักษาอย่างเร่งด่วน ซึ่งมักจะเกิดขึ้นทันที หลังจากที่ได้รับยา ได้แก่ อาการแน่นหน้าอก หายใจไม่ออก ใจสั่น ผื่นลมพิษ หน้าบวม ปากบวม หน้ามืด ความดันโลหิตต่ำ เป็นลม หมดสติ ทำอย่างไรเมื่อสงสัยว่าแพ้ยา ?? เมื่อสงสัยว่าแพ้ยา ควรหยุดยา และมาพบแพทย์ทันที เพื่อให้ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที หากเป็นไปได้ควรนำยาทั้งหมดที่ใช้อยู่ในขณะนั้นให้แพ ทย์ดูด้วย เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการประเมินการแพ้ยาว่าน่าจะเกิด จากยาตัวใด หากสงสัยว่าอาการดังกล่าวเป็นการแพ้ยาจริง ในปัจจุบันนี้ แทบทุกโรงพยาบาลมีบริการทำบัตรเตือนเรื่องยาให้กับผู ้ที่มีประวัติแพ้ยา หรือผู้ที่มีผลข้างเคียงจากการใช้ยาที่รุนแรงจนไม่สา มารถทนได้ โดยในบัตรจะมีข้อมูลของชื่อยา อาการที่เกิดขึ้น รวมทั้งผลการประเมินว่าอาการดังกล่าวน่าจะเกิดจากยาไ ด้มากน้อยเพียงใด เพื่อเป็นข้อมูลในการักษาครั้งต่อไป สำหรับข้อแนะนำในการใช้บัตรดังกล่าว ได้แก่ ควรพกบัตรติดตัวเสมอ และแสดงบัตรดังกล่าวทุกครั้งที่รับการตรวจรักษาหรือร ับยา ควรจำชื่อยา หรือกลุ่มยาที่ทำให้เกิดอาการอันไม่พึงประสงค์ และควรแจ้งให้ผู้ที่อยู่ใกล้ชิดทราบ หลีกเลี่ยงยา หรือกลุ่มยาที่เคยแพ้ หรือเกิดอาการไม่พึงประสงค์ ชื่อยาในบัตรสามารถใช้ได้ แม้ว่าท่านจะมีประวัติแพ้ยามาก่อน แต่หากแพทย์พิจารณาแล้วว่าจำเป็นต้องใช้ยาชนิดนั้น หรือยอมให้เกิดอาการไม่พึงประสงค์ เพื่อรักษาอาการของโรคที่รุนแรงและอันตรายกว่า อย่างไรก็ตามหากใครมีข้อสงสัยสามารถสอบถามเหตุผลจากแ พทย์ผู้รักษาได้ สิ่งที่ควรคำนึงถึงหากคุณต้องการแจ้งประวัติแพ้ยา คือ หากอาการที่เกิดขึ้นนั้น...ไม่ใช่อาการของการแพ้ยาจร ิงๆ เมื่อท่านให้ประวัติแพ้ยาชนิดหนึ่ง แพทย์ หรือเภสัชกรจะหลีกเลี่ยงการใช้ยาตัวนั้น รวมทั้งยาในกลุ่มยาดังกล่าวทั้งกลุ่ม ซึ่งอาจทำให้ท่านเสียโอกาสในการใช้ยาดีๆ อีกหลายตัว ดังนั้นก่อนการแจ้งประวัติเหล่านี้ คุณควรเล่าเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นให้แพทย์หรือเภสัชกรฟ ังอย่างละเอียด เพื่อให้แพทย์หรือเภสัชกรนำไปเป็นข้อมูลในการประเมิน อาการว่าเกิดจากการแพ้ยาจริงหรือไม่ นอกจากนี้ก็ควรหลีกเลี่ยงการใช้ยาที่ไม่ทราบชื่อ ชนิด สรรพคุณ รวมถึงยาชุด ยาลูกกลอน และควรสอบถามชื่อยา สรรพคุณ และวิธีใช้อย่างละเอียด เมื่อต้องการใช้ยาใดๆ ก็ตาม เพียงเท่านี้คุณก็สามารถใช้ยาได้อย่างปลอดภัย และไม่เสียโอกาสในการใช้ยา ทำให้ได้รับประสิทธิภาพในการรักษาของยาอย่างเต็มที่แ ล้วล่ะค่ะ ที่มาข้อมูล : นิตยสาร Health Today[/color][/color]
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กุมภาพันธ์ 26, 2012, 10:55:17 AM โดย nujai »
|
บันทึกการเข้า
|
finghting!!!
|
|
|
jainu
|
 |
« ตอบ #64 เมื่อ: มกราคม 05, 2010, 03:17:47 PM » |
|
?ปากเหม็น?เรื้อรังลางบอกเหตุโรคร้าย ปัญหาสุขภาพช่องปากที่สำคัญอย่าง ?กลิ่นปาก? ที่หอบเอาลมหายใจเหม็น ๆ ออกมาจากช่องปากทุกยามที่คุณปริปากนั้นเป็นเรื่องที่ สร้างความกังวลใจไม่ใช่ น้อย เพราะเคยทำให้ใครหลายคนพยายามสงวนคำพูด ลดโอกาสการสนทนา ด้วยเหตุผลที่ว่าไม่อยากให้คู่สนทนาได้กลิ่นอันไม่พึ งประสงค์ แถมยังบั่นทอนบุคลิกภาพที่ดีลงไปทว่าคุณจะเห็นเรื่องกลิ่นปากเป็นเรื่องเล็ก เพราะยามที่เริ่มส่งกลิ่นเหม็นเมื่อไหร่ ก็หยิบลูกอม หมากฝรั่ง ยัดใส่ปาก หรือไม่ก็ขอเวลานอกไปกลั้วปากบ้วนน้ำ แปรงฟัน ซึ่งเป็นเรื่องที่ถูก โดยวิธีดังกล่าวเป็นการขจัดปัญหากลิ่นปากที่อาจเกิดจ ากการรับประทานอาหารบาง ชนิด แต่ถ้าสาเหตุของกลิ่นนั้นมาจากปัญหาอื่น ไม่นานกลิ่นปากก็จะเกิดขึ้นซ้ำแล้วซ้ำเล่าเข้าตำราเร ื้อรัง 'ศูนย์ทันตกรรม Dentalis โรงพยาบาลเวชธานี' ที่เปิดให้การรักษาปัญหากลิ่นปากพบว่า ร้อยละ 80-90 ของผู้ที่มีปัญหากลิ่นปากเรื้อรังมักมีสาเหตุมาจากปัญหาภายในช่องปาก ที่ มีทั้งลิ้นเป็นฝ้า ร่องเหงือกอักเสบ โรคปริทันต์หรืออวัยวะรอบฟันอักเสบ แผลในช่องปาก ฟันผุ ฟันคุด ฟันซ้อนเก ฟันปลอมหรือวัสดุอื่น ๆ ที่ใส่เพื่อจัดแต่งฟันไม่สะอาดมีเศษอาหารติดค้าง ส่วนปัจจัยภายนอกที่ทำให้เกิดกลิ่นปากคือ อาหาร แม้จะไม่ใช่ตัวการก่อกลิ่นที่เรื้อรัง คุณก็ควรรู้ไว้ว่าการรับประทานอาหารจำพวกโปรตีนสูง อย่าง กระเทียม เครื่องเทศ หัวหอม รวมทั้งเครื่องดื่มประเภทแอลกอฮอล์ จะนำพากลิ่นตุ ๆ ให้เกิดขึ้นในปาก รวมทั้งการสูบบุหรี่ด้วย นอกจากสองปัจจัยที่กล่าวไปแล้ว กลิ่นปาก อาจเกิดขึ้นเพราะร่างกายส่งสัญญาณบอกความเจ็บป่วยจาก อวัยวะภายใน เช่น ป่วยด้วยโรคระบบทางเดินหายใจ อาทิ การอักเสบหรือมะเร็งในโพรงจมูก ไซนัส ทอนซิล คอหอย กล่องเสียง หรือปอด โรคของระบบทางเดินอาหาร ได้แก่ การอักเสบของหลอดอาหาร โรคกระเพาะ โรคลำไส้ ทั้งนี้ยังมีการวิจัยพบว่า โรคกรดไหลย้อน ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงเยื่อบุผิวทางเดินหายใจ มีผลให้น้ำมูกข้นเหนียวกว่าปกติ และจะไหลลงลำคอด้านหลังจมูก (Post Nasal Drip) ซึ่งเป็นอาการเดียวกับผู้ที่ทางเดินหายใจอักเสบเรื้อ รัง ยังมีการป่วยด้วยโรคตับ โรคไต และโรคเบาหวาน ที่ทำให้เกิดกลิ่นปากได้อีก โดยสามโรคตอนท้ายนี้จะมีกลิ่นเฉพาะของแต่ละโรค 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
finghting!!!
|
|
|
jainu
|
 |
« ตอบ #65 เมื่อ: มกราคม 12, 2010, 03:03:54 PM » |
|
 สวัสดีค่ะ หั้ยป่ายยนันนนนนนนนนนน เคล็ดมั่ยลับค้ะทำยังงัยมั่ยหั้ยโดนมีดปาด อย่าใจลอยค่ะ  อิ อิ แล้วกลับมาเจอเคล็ดมั่ยลับใหม่น้ะค้ะ 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
finghting!!!
|
|
|
|
jainu
|
 |
« ตอบ #67 เมื่อ: มกราคม 13, 2010, 10:56:15 PM » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
finghting!!!
|
|
|
jainu
|
 |
« ตอบ #68 เมื่อ: มกราคม 15, 2010, 09:19:36 PM » |
|
มะม่วงป้องกันมะเร็งต่อต้านเนื้อร้ายมดลูกและลำไส้ได ้ผลดีนักวิทยาศาสตร์การอาหารอเมริกาค้นพบว่ามะม่วงอันเป็น ผลไม้เก่าแก่และเป็นที่นิยมกินกันอยู่ตามดินแดนหลายส ่วนของโลก สามารถช่วยป้องกันมะเร็งเต้านมและลำไส้ได้ นักวิทยาศาสตร์คู่ผัวเมียของศูนย์วิจัยอาหาร อกริไลฟ์ แห่งเท็กซัส ดร.สตีฟ และ ดร.ซูซาน กล่าวแจ้งผลการศึกษาว่า "แม้ว่าจะเทียบคุณสมบัติในการเป็นสารต่อต้านอนุมูลอิ สระของมะม่วงกับผลบลูเบอรี่และทับทิมจะยังไม่ใกล้เคี ยงกัน มีสมรรถภาพต่ำกว่าเหล้าไวน์องุ่นโดยเฉลี่ยประมาณ 4-5 เท่า แต่ก็ยังถือได้ว่ามีคุณสมบัติต่อต้านมะเร็งได้ดี" "หากมองในแง่สรีรวิทยาและโภชนาการแล้วก็ยังถือว่าเป็ นอาหารชั้นเอกได้ เหมาะที่จะจัดให้มะม่วง เป็นส่วนของอาหารที่กินเป็นประจำได้" พวกเขาได้ทดสอบคุณสมบัติสารสกัดโพลีฟีนอลจากมะม่วง ต่อมะเร็งลำไส้ เต้านม ปอดเม็ดเลือดและต่อมลูกหมากในหลอดทดลอง สารโพลี่ฟีนอลเป็นสารที่มีอยู่ในพืชตามธรรมชาติกับสา รประกอบอื่น มีคุณประโยชน์ในด้านบำรุงสุขภาพ พบว่า "มะม่วงได้แสดง ว่ามีฤทธิ์ต่อมะเร็งปอด เม็ดเลือดและต่อมลูกหมาก แต่มันจะให้ผลดีที่สุดกับมะเร็งเต้านมและลำไส้".
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
finghting!!!
|
|
|
|
Neung99k
|
 |
« ตอบ #70 เมื่อ: มกราคม 16, 2010, 03:10:02 PM » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
jainu
|
 |
« ตอบ #71 เมื่อ: มกราคม 16, 2010, 09:30:12 PM » |
|
 ฝากเอาว้ายนัยจัยรอวานม่ะเอากืน!!!ฮึ่ม!!!! > 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
finghting!!!
|
|
|
|
|
jainu
|
 |
« ตอบ #74 เมื่อ: มกราคม 19, 2010, 12:03:41 PM » |
|
mai ow laaw ja , pid pra too laaw ,mai mee fan dee wa na 
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
finghting!!!
|
|
|
Gold Price today, Gold Trend Price Prediction, ราคาทองคํา, วิเคราะห์ทิศทางทองคํา
|
Thanks: ฝากรูป dictionary
---------------------Charts courtesy of Moore Research Center, Inc. For more information on Moore Research products and services click here. --- http://www.mrci.com ----------
---------------------------------------------รูปกราฟแสดงราคาทองในอดีตปี 1974-1999 ของ Moore Research Center, Inc.
แสดงฤดูกาลที่ราคาทองขึ้นสูงสุดและตําสุด เอาแบบคร่าวๆ เส้นนําตาลหรือนําเงินก็ใกล้เคียงกัน เส้นนําตาลเฉลี่ย
15 ปี เส้นนําเงินเฉลี่ย 26 ปี ราคาตําสุดของเส้นนําตาล หรือเฉลี่ย 15 ปี ในเดือน ปลายเดือน เมษ และปลายเดือน สค
ต่อต้นเดือน กย[/color] สูงสุดในเดือน กพ กับ พย / ส่วนเฉลี่ย 26 ปี ราคาตําสุด ต้น กค กับ ปลาย สค และราคาสูงสุดในเดือน
กพ และ กลางเดือน ตค -----
แค่ดูคร่าวๆ เป็นแนวทาง อย่ายึดมั่นว่าจะต้องเป็นตามนี้
ข้างล่างเป็นกราฟราคานํามัน ตามฤดูกาล จาก Charts courtesy of Moore Research Center, Inc.
Thanks: ฝากรูป dictionary
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|