Forex-Currency Trading-Swiss based forex related website. Home ----- กระดานสนทนาหน้าแรก ----- Gold Chart,Silver,Copper,Oil Chart ----- gold-trend-price-prediction ----- ติดต่อเรา
หน้า: 1 ... 27 28 [29] 30 31 ... 45   ลงล่าง
พิมพ์
ผู้เขียน หัวข้อ: ภาพวิวจ๋วย..จ๋วย  (อ่าน 61319 ครั้ง)
0 สมาชิก และ 3 บุคคลทั่วไป กำลังดูหัวข้อนี้
jainu
Moderator
Sr. Member
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 11494


« ตอบ #420 เมื่อ: กันยายน 06, 2013, 08:29:08 PM »



หนึ่งในภาพวิวทิวทัศน์ที่สวยงาม ดูเงียบสงบ เย็นเยียบ และเวิ้งว้างสุดลูกหูลูกตา คงเป็นที่ไหนไปไม่ได้นอกจากดินแดนที่อยู่สุดขั้วทั้งสองของโลกกลม ๆ ใบนี้ แค่การเดินทางไปถึงก็ยากแล้ว การจะใช้ชีวิตอยู่ในสภาพอากาศที่หนาวเหน็บอย่างโหดร้าย รวมทั้งเฝ้ารอเก็บภาพช็อตสำคัญสุดประทับใจ คงเป็นเรื่องยากยิ่งกว่า...




แต่สำหรับ "พอล ซอเดอร์" ช่างภาพวัย 51 ปี จากซีแอตเติล อเมริกา ผู้ใช้เวลาเกือบสิบปีตระเวนเดินทางทั่วแถบขั้วโลกเหนือ ไม่ว่าจะเป็น อลาสก้า, กรีนแลนด์, นอร์เวย์ ฯลฯ กลับมองว่ามันมีเสน่ห์และเป็นเรื่องท้าทายอย่างมาก ที่สำคัญคือเขากำลังบันทึกภาพความหนึ่งความเปลี่ยนแปลงสำคัญที่เกิดขึ้นกับโลก โดยมีสาเหตุจากภาวะโลกร้อนอันทำให้น้ำแข็งละลายเร็วขึ้น ๆ ในทุกปีนั่นเอง




รายงานจากเว็บไซต์เดลิเมลดอทคอม ระบุว่า ด้วยความมุ่งมั่นพยายามในภารกิจตระเวนเดินทางต่อเนื่อง ไปยังแถบขั้วโลกเหนือเพื่อเก็บภาพความมหัศจรรย์ และบรรยากาศของดินแดนน้ำแข็งที่เวิ้งว้าง อันกินเวลายาวนานเกือบสิบปีนี้ ทำให้ชุดภาพถ่ายที่แสนจับใจ ชวนให้หลงใหลและตกตะลึงไปพร้อม ๆ กันของ พอล ได้รับรางวัล Veolia Environment Wildlife Photographer ประจำปี 2011 ไปครอง ซึ่งเมื่อได้ชมภาพผลงานของเขาแล้ว ก็ต้องนับว่าสมกับรางวัลที่ได้รับนี้แล้วจริง ๆ




พอลกล่าวถึงชุดภาพถ่ายของเขาว่า เขาใช้ความพยายามนานหลายปี ที่จะเก็บภาพในมุมและช่วงเวลาที่สมบูรณ์แบบที่สุด อย่างยามที่ธารน้ำแข็งหรือกลาเซียกำลังแตกตัว, ภาพภูเขาน้ำแข็งทั้งส่วนที่เห็นเป็นก้อนอยู่เหนือผิวน้ำ ในขณะที่ส่วนของฐานจมอยู่ใต้ผิวน้ำอันเย็นเยียบ, ภาพน้ำแข็งที่พื้นผิวของมันดูแปลกตาไปจากที่เคย เนื่องด้วยกำลังละลายจากอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้น และยังมีภาพความงามของดินแดนแห่งน้ำแข็ง ที่ชวนให้ตะลึงและสะกดให้หลงไหล อีกหลายภาพที่เขาทุ่มทั้งกำลังกาย และกำลังใจ เสี่ยงตายไปเก็บภาพเหล่านั้นมา




"ครั้งหนึ่งผมพยายามเข้าไปเก็บภาพ น้ำแข็งที่ละลายและถูกลมกัดเซาะจนเกิดเป็นซุ้มโค้งขึ้นมา ผมรู้ว่ามันอันตรายมากที่จะเข้าไปใกล้ เพราะมันสามารถถล่มลงมาได้ทุกเมื่อ แต่ถ้าผมอยากได้ภาพสวย ๆ แบบที่ผมต้องการ นั่นก็หมายความว่าผมต้องพายเรือลำเล็ก ๆ นี้ ไปอยู่ด้านใต้มัน" พอลพูดถึงการทำงานของตัวเอง เมื่อเขาได้กลับมานั่งดูภาพผลงานของตัวเอง แล้วก็ตระหนักขึ้นได้ว่าในสิ่งที่เขาทำอยู่ในขณะนั้นมันเสี่ยงอันตรายมากเพียงใด




"คุณรู้ไหมว่าการทำงานในอากาศที่หนาวจัดจนมือคุณแข็งจนแทบกระดิกนิ้วไม่ได้ แล้วปากก็ซีดจนเป็นสีฟ้าอย่างนั้น มันยากอยู่เหมือนกันนะ" พอล กล่าว และว่า มีบางครั้งที่เรือท่องเที่ยวของชาวบ้านที่พอจะอาศัยอยู่แถวนั้นผ่านมา และตะโกนบอกเขาว่าสิ่งที่เขาทำอยู่มันอย่างกับกำลังเอาชีวิตมาทิ้ง แต่เขาก็ตะโกนตอบกลับไปแบบติดตลกว่า "อย่าเอาเรื่องนี้ไปฟ้องแม่ผมนะ!!"




แหมม.. ดูท่าทางคุณลุงพอลอายุครึ่งร้อยคนนี้คงจะเก๋าไม่เบา แต่ก็ต้องขอขอบคุณความเก๋าของคุณลุง ที่ทำให้เราได้มีโอกาสยลโฉมภาพถ่ายสวย ๆ จากดินแดนเหน็บหนาวอันห่างไกล และที่สำคัญมันกำลังจะเปลี่ยนแปลงสภาพไปจากเดิม เหตุเพราะปรากฏการณ์โลกร้อน ที่มีมนุษย์เป็นตัวการสำคัญที่ก่อขึ้นมานี้ด้วย ขอให้ความสวยงามที่แฝงไว้ด้วยสาเหตุที่แสนจะไม่น่าอภิรมย์นี้ ช่วยเตือนใจเราไปทุกครั้งที่ได้ชื่นชมมัน ว่าถึงเวลาเสียทีที่จะต้องหันกลับมาดูแลโลกของเราอย่าจริงจัง















บันทึกการเข้า

finghting!!!
jainu
Moderator
Sr. Member
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 11494


« ตอบ #421 เมื่อ: กันยายน 13, 2013, 07:53:42 PM »



บันทึกการเข้า

finghting!!!
jainu
Moderator
Sr. Member
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 11494


« ตอบ #422 เมื่อ: กันยายน 13, 2013, 07:58:30 PM »

« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กันยายน 14, 2013, 06:16:43 PM โดย jainu » บันทึกการเข้า

finghting!!!
jainu
Moderator
Sr. Member
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 11494


« ตอบ #423 เมื่อ: กันยายน 13, 2013, 07:59:03 PM »




บันทึกการเข้า

finghting!!!
jainu
Moderator
Sr. Member
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 11494


« ตอบ #424 เมื่อ: กันยายน 14, 2013, 06:17:08 PM »



บันทึกการเข้า

finghting!!!
jainu
Moderator
Sr. Member
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 11494


« ตอบ #425 เมื่อ: กันยายน 14, 2013, 06:18:17 PM »



บันทึกการเข้า

finghting!!!
jainu
Moderator
Sr. Member
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 11494


« ตอบ #426 เมื่อ: กันยายน 14, 2013, 06:20:12 PM »


เหนื่อยก็พัก

บันทึกการเข้า

finghting!!!
jainu
Moderator
Sr. Member
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 11494


« ตอบ #427 เมื่อ: กันยายน 14, 2013, 06:28:49 PM »

บันทึกการเข้า

finghting!!!
jainu
Moderator
Sr. Member
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 11494


« ตอบ #428 เมื่อ: กันยายน 16, 2013, 07:14:44 PM »


http://www.colorado.com/cities-and-regions









































บันทึกการเข้า

finghting!!!
jainu
Moderator
Sr. Member
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 11494


« ตอบ #429 เมื่อ: กันยายน 16, 2013, 07:33:00 PM »

















บันทึกการเข้า

finghting!!!
jainu
Moderator
Sr. Member
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 11494


« ตอบ #430 เมื่อ: กันยายน 16, 2013, 07:59:58 PM »































































บันทึกการเข้า

finghting!!!
jainu
Moderator
Sr. Member
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 11494


« ตอบ #431 เมื่อ: กันยายน 19, 2013, 07:54:49 PM »

บันทึกการเข้า

finghting!!!
jainu
Moderator
Sr. Member
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 11494


« ตอบ #432 เมื่อ: กันยายน 19, 2013, 07:56:00 PM »

บันทึกการเข้า

finghting!!!
jainu
Moderator
Sr. Member
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 11494


« ตอบ #433 เมื่อ: กันยายน 19, 2013, 07:58:49 PM »





บันทึกการเข้า

finghting!!!
jainu
Moderator
Sr. Member
*****
ออฟไลน์ ออฟไลน์

กระทู้: 11494


« ตอบ #434 เมื่อ: กันยายน 19, 2013, 08:01:20 PM »



บันทึกการเข้า

finghting!!!
Gold Price today, Gold Trend Price Prediction, ราคาทองคํา, วิเคราะห์ทิศทางทองคํา
   

images by free.in.th
Thanks: ฝากรูป dictionary ---------------------Charts courtesy of Moore Research Center, Inc. For more information on Moore Research products and services click here. --- http://www.mrci.com ---------- ---------------------------------------------รูปกราฟแสดงราคาทองในอดีตปี 1974-1999 ของ Moore Research Center, Inc. แสดงฤดูกาลที่ราคาทองขึ้นสูงสุดและตําสุด เอาแบบคร่าวๆ เส้นนําตาลหรือนําเงินก็ใกล้เคียงกัน เส้นนําตาลเฉลี่ย 15 ปี เส้นนําเงินเฉลี่ย 26 ปี ราคาตําสุดของเส้นนําตาล หรือเฉลี่ย 15 ปี ในเดือน ปลายเดือน เมษ และปลายเดือน สค ต่อต้นเดือน กย[/color] สูงสุดในเดือน กพ กับ พย / ส่วนเฉลี่ย 26 ปี ราคาตําสุด ต้น กค กับ ปลาย สค และราคาสูงสุดในเดือน กพ และ กลางเดือน ตค ----- แค่ดูคร่าวๆ เป็นแนวทาง อย่ายึดมั่นว่าจะต้องเป็นตามนี้ ข้างล่างเป็นกราฟราคานํามัน ตามฤดูกาล จาก Charts courtesy of Moore Research Center, Inc. images by free.in.th
Thanks: ฝากรูป dictionary
 บันทึกการเข้า
หน้า: 1 ... 27 28 [29] 30 31 ... 45   ขึ้นบน
พิมพ์
กระโดดไป: