|
jainu
|
|
« ตอบ #136 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 07, 2014, 08:58:14 PM » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
finghting!!!
|
|
|
jainu
|
|
« ตอบ #137 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 07, 2014, 09:00:44 PM » |
|
“ ...คำพูดที่ว่า สุดแล้วแต่โชคชะตา อันนี้เป็นคำพูดของคนหลงผิด แล้วมักปล่อยชีวิตไปตามเรื่องตามราว ถ้าเป็นเรือก็เรียกว่า ไม่ถ่อไม้พาย ไม่เดินเครื่องแล้ว สุดแล้วแต่เรื่อง เรือมันก็ไปชนหินโสกโครกเท่านั้นเอง แล้วเรือนั้นก็ไปไม่ได้ ชีวิตของคนเรานั้นก็เหมือนกัน คนใดที่ชอบพูดว่า สุดแล้วแต่โชคชะตา คนนั้นไม่ใช่คนต่อสู้ในการดำรงชีวิต แต่เป็นคนที่ไม่ค่อยจะเอาเรื่อง มักจะเป็นไปตามเหตุการณ์ เป็นไปตามสิ่งแวดล้อม ผลที่สุดก็ไม่ค่อยได้สาระ...”
ปัญญานันทภิกขุ (จากหนังสือชนะทุกข์ หน้า 407)
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
finghting!!!
|
|
|
jainu
|
|
« ตอบ #138 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 07, 2014, 09:01:02 PM » |
|
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กุมภาพันธ์ 08, 2014, 11:23:16 AM โดย jainu »
|
บันทึกการเข้า
|
finghting!!!
|
|
|
jainu
|
|
« ตอบ #139 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 07, 2014, 09:06:31 PM » |
|
...อุบายสอนศิษย์..ของพระอรหันต์..
อุบาสิกาท่านหนึ่ง มีความซาบซึ้งดื่มด่ำในธรรมที่หลวงปู่ตื้อแสดงอย่างยิ่ง เมื่อเทศน์จบลง อุบาสิกาท่านนี้ก็คลานคล้อยเข้าไปเบื้องหน้าธรรมาสน์ที่ท่านนั่งแสดงธรรม พนมมือนมัสการกราบเรียนหลวงปู่ว่า
"หลวงปู่เจ้าค่ะ อีฉันได้ฟังหลวงปู่เทศนาแล้ว เบากายเบาใจเหลือเกิน อีฉันปล่อยวางได้หมดแล้วเจ้าค่ะ"
"อนุโมทนาด้วยคุณโยม ที่เกิดดวงตาเห็นธรรม"
"อีฉันไม่ยึดมั่นถือมั่นอีกต่อไปแล้วเจ้าค่ะหลวงปู่"
หลวงปู่ตื้อนิ่งไปนิดหนึ่ง ก่อนจะพูดเสียงดังฟังชัดว่า
"อีตอแหล!"
สิ้นคำหลวงปู่ อุบาสิกาท่านนั้นถึงกับหน้าแดงก่ำทั้งโกรธทั้งอาย ต่อว่าหลวงปู่ตื้อเสียงสั่นว่า ทำไมท่านจึงมาด่าว่าตนท่ามกลางสาธารณชนเช่นนี้
หลวงปู่ตื้อได้แต่หัวเราะหึ ๆ ไม่อธิบายโต้ตอบอะไร ขณะที่คนทั้งศาลาหัวเราะกันครืน เพราะเป็นที่แน่ชัดแล้วว่า อุบาสิกาปล่อยวางอะไรไม่ได้เลย และยังยึดมั่นตัวตนของตนอย่างเหนียวแน่นครบถ้วน
...หลวงปู่ตื้อ อจลธมฺโม...
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
finghting!!!
|
|
|
jainu
|
|
« ตอบ #140 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 08, 2014, 11:17:03 AM » |
|
คนอื่นไม่ดี เราพอรู้ได้ แต่เราเป็นคนไม่ดีในการคิด การพูดและการทำ ไม่ค่อยจะรู้เรื่องของตัว จึงหาทางแก้ไขยาก ทำนองเรามองดูขนตาคนอื่นเห็นได้ชัด แต่พอย้อนกลับมามองดูขนตาของเราเองเลยไม่เห็น ต้องใช้กระจกเงาเข้าช่วยมองจึงเห็นได้ การมองดูความผิด ถูก ชั่ว ดีของตัวก็ต้องใช้ปัญญา ซึ่งเปรียบกับกระจกเงาส่องเข้าหาตัวเราเสมอ เราสังเกตคนอื่นอย่างไร ควรจะใช้ความสังเกตตัวเราในทำนองเดียวกัน หรือมากกว่านั้น ถ้าใช้ความสังเกตสอดรู้ตัวเองดังที่ว่านี้ จะต้องเห็นจุดดีชั่ว ซึ่งแสดงอยู่ภายในตัวได้ชัด และพอมีทางแก้ไขและส่งเสริมได้เป็นลำดับ ในธรรมที่กล่าวมานี้คือ ธรรมที่ชี้บอกให้ค้นหาของดีในตัวของเราแต่ละราย ๆ พยายามถอดถอนสิ่งที่ชั่วออกไป
หลวงตาพระมหาบัว ญาณสัมปันโน จากหนังสือคำถาม คำตอบ ปัญหาธรรม
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
finghting!!!
|
|
|
jainu
|
|
« ตอบ #141 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 14, 2014, 08:11:15 AM » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
finghting!!!
|
|
|
jainu
|
|
« ตอบ #142 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 14, 2014, 08:11:28 AM » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
finghting!!!
|
|
|
jainu
|
|
« ตอบ #143 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 14, 2014, 08:11:47 AM » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
finghting!!!
|
|
|
jainu
|
|
« ตอบ #144 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 14, 2014, 08:12:09 AM » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
finghting!!!
|
|
|
jainu
|
|
« ตอบ #145 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 17, 2014, 10:00:44 PM » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
finghting!!!
|
|
|
jainu
|
|
« ตอบ #146 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 17, 2014, 10:01:08 PM » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
finghting!!!
|
|
|
jainu
|
|
« ตอบ #147 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 18, 2014, 05:27:36 PM » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
finghting!!!
|
|
|
jainu
|
|
« ตอบ #148 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 22, 2014, 10:45:13 PM » |
|
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
finghting!!!
|
|
|
jainu
|
|
« ตอบ #149 เมื่อ: กุมภาพันธ์ 28, 2014, 08:20:55 AM » |
|
ธรรมะ ๙ ตา !!
๑. ความรู้จักสิ่งทั้งปวงว่า เป็นสิ่งที่ปรุงแต่งขึ้นมาจากเหตุปัจจัยที่ปรุงแต่ง และจะปรุงแต่งสิ่งอื่นๆอีกต่อไป ไม่มีที่สิ้นสุด นั้นคือ กระแสแห่งความเปลี่ยนแปลง หรือ ความไม่เที่ยง ซึ่งเรียกว่า “ อนิจจัง”.
๒. เพราะต้องเป็นไปกับด้วยสิ่งที่เป็นอนิจจังหรือการเปลี่ยนแปลงเรื่อย ก็เกิดอาการที่เป็นทุกข์ คือ ทนได้ยาก(ทนอยู่ในสภาพนั้นไม่ได้ตลอดไป) หรือ สิ่งที่เรียกว่า “ ทุกขัง ”.**
๓. เพราะไม่มีอะไรจะต้านทานได้ ต่อสิ่งที่ไม่เที่ยงและเป็นทุกข์นี้จึงเรียกว่า ไม่มีตัวตน หรือ ไม่ใช่ตัวตน หรือ “อนัตตา”.
๔. การที่เป็นไปด้วย อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา นี้ เรียกว่า “ธัมมัฏฐิตัตตา” คือ ความที่ต้องเป็นไปเช่นนี้ เป็นธรรมดา.
๕. ทั้งนี้เป็นเพราะ มีกฎของธรรมชาติบังคับอยู่ นี้เรียกว่า “ธรรมนิยามตา”.
๖. อาการที่ต้องเป็นไปตามเหตุปัจจัยอย่างนี้ เรียกว่า “ อิทัปปัจจยตา " เป็นกฎธรรมชาติ มีอำนาจเสมอสิ่งที่เรียกว่า “ พระเป็นเจ้า”.
๗. การที่ไม่มีอะไรต้านทานกฏอิทัปปัจจยตานี้ได้ เรียกว่า “ สุญญตา” คือ ความว่างจากตัวตน หรือ ว่างจากความหมายแห่งตัวตน.
๘. ความจริงอันสูงสุดเรียกว่า “ตถตา” คือ ความเป็นเช่นนั้นเอง อย่างไม่ฟังเสียงใคร ใครจะฝืนให้เป็นไปตามใจตนมันก็กัดเอง คือ เป็นทุกข์.
๙. ในที่สุดก็เกิดความรู้สึกขั้นสุดท้ายว่า “ อตัมมยตา” ความที่ไม่อาจอาศัย หรือ เกี่ยวข้องกับสิ่งนี้อีกต่อไป ซึ่งมีความหมายอย่างภาษาชาวบ้านพูดว่า “ กูไม่เอากะอีกต่อไปแล้ว ” สลัดออกไปเสีย ก็คือ การบรรลุมรรคผล.
" ธัมมฐิติญาณ " รู้ความจริงของสังขาร ก็สุดลงที่ อตัมมยตา ต่อจากนั้นก็เป็นกลุ่มนิพพานญาณ เป็นฝ่าย โลกุตตระ เริ่มต้นแห่งความเย็น หรือ ความหมายของนิพพาน.
(พุทธทาส ภิกขุ)
คำว่า " ทุกขัง " ในที่นี้ เป็น ความทุกข์ใน ไตรลักษณ์ มิใช่ " ทุกขัง " ในอริยสัจ ๔..
|
|
« แก้ไขครั้งสุดท้าย: กุมภาพันธ์ 28, 2014, 08:24:31 AM โดย jainu »
|
บันทึกการเข้า
|
finghting!!!
|
|
|
Gold Price today, Gold Trend Price Prediction, ราคาทองคํา, วิเคราะห์ทิศทางทองคํา
|
Thanks: ฝากรูป dictionary
---------------------Charts courtesy of Moore Research Center, Inc. For more information on Moore Research products and services click here. --- http://www.mrci.com ----------
---------------------------------------------รูปกราฟแสดงราคาทองในอดีตปี 1974-1999 ของ Moore Research Center, Inc.
แสดงฤดูกาลที่ราคาทองขึ้นสูงสุดและตําสุด เอาแบบคร่าวๆ เส้นนําตาลหรือนําเงินก็ใกล้เคียงกัน เส้นนําตาลเฉลี่ย
15 ปี เส้นนําเงินเฉลี่ย 26 ปี ราคาตําสุดของเส้นนําตาล หรือเฉลี่ย 15 ปี ในเดือน ปลายเดือน เมษ และปลายเดือน สค
ต่อต้นเดือน กย[/color] สูงสุดในเดือน กพ กับ พย / ส่วนเฉลี่ย 26 ปี ราคาตําสุด ต้น กค กับ ปลาย สค และราคาสูงสุดในเดือน
กพ และ กลางเดือน ตค -----
แค่ดูคร่าวๆ เป็นแนวทาง อย่ายึดมั่นว่าจะต้องเป็นตามนี้
ข้างล่างเป็นกราฟราคานํามัน ตามฤดูกาล จาก Charts courtesy of Moore Research Center, Inc.
Thanks: ฝากรูป dictionary
|
|
|
บันทึกการเข้า
|
|
|
|
|