ปรากฏการ การวัดค่า ด้วย STOHASTICสโต จากสูตร เป็นการวัด ตำแหน่ง ของราคา เทียบกับ ราคาสูงสุด-ต่ำสุด ในช่วงเวลาใดๆ
ค่าสโต ที่สูง บอกว่า ราคาอยู่ในตำแหน่ง ใกล้ ราคาสูงสุด
ค่าสโต ที่ต่ำ บอกว่า ราคาอยู่ในตำแหน่ง ใกล้ ราคาต่ำสุด
มาดูสูตร กันคะ
Calculation: The Stochastic indicator is calculated on the following way:
%K = ( Today's Close - LL ) / ( HH - LL ) * 100
where:
LL = Lowest Low price in PeriodK
HH = Highest High price in PeriodK
%D is calculated as a Moving Average of %K for PeriodD.
แปลเป็นภาษาชาวบ้าน คือ ค่าสโตร = การเปรียบเทียบต่ำแหน่งราคา วัดจาก ราคาสูงสุดต่ำสุด ว่า อยู่ตรงไหน โดยวัดเป็น เปอร์เซนต์
ผลกระทบสโต แปรผัน ตาม ตำแหน่งราคา (P)
สโต แปรผกผัน กับ ราคาสูงสุด ต่ำสุด (HL)
ดงีนั้น ถ้า HL มีค่าคงที่ การวัดค่าสโต จะมี ความเสถียร พอควร (ความเถียร ไม่ใช่ความแม่นยำ)
และ ถ้าสมมุติ HL มีการเลือนไหล เนื่องมาจาก จำนวนคาบเวลาขยับ และ ขณะที่ขยับ การจับ ค่า HL ได้ขยับตามค่าสูงต่ำที่ จำนวนแท่งที่กำหนด ขยับตามไป เรื่อยๆ หละ
กรณ๊ที่ 1 HL ลดลง แต่ P คงที่เมื่อ HL ลดลงเรื่อยๆ จะทำให้ผลหารมีค่าสูงขึ้น ส่งผลให้ การวัดค่าสโต มีค่า สูงไปเรื่อยๆ เช่น ขณะที่ สโต อยู่ที่ 0 และค่าราคาเริ่มขยับในเล็กน้อยเป็นเวลานานๆ ยิ่งนานเท่าไหร่ ค่าสโต จะ สูงขึ้นเรื่อยๆ ขณะที่ราคา แทบไม่วิ่งไปไหน สโต อาจวิ่งจาก 0 จน ถึง 100 ได้
คำถาม คือ เมื่อค่าสโต ถึง 100 แล้ว นั้น เป็นการ OverBought หรือไม่ และ เป็นระดับที่ควร ชอต หรือไม่ คำตอบคือ ไม่ใช่เมื่อเกิด ปรากฏการณ์ เช่นนี้ เรามักจะเห็น เสมอ ว่า ราคา จะ กระชากขึ้นไป อีก เพื่อ หา แนวต้าน อันดับถัดไป สอง ถึงสามระดับ เพื่อจะสร้าง ชุดสโตชุดใหม่ ที่แท้จริง ขึ้นมา เราจึงสามารถ เข้า ชอต ตามสัญญานภายหลังได้กรณีที่ 2 HL เพิ่มขึ้น และ P คงที่เมื่อ HL เพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จะทำให้ผลหารมีค่าน้อยลงเรื่อยๆ ส่งผลให้ การวัดค่าสโต มีค่า ต่ำลงเรื่อยๆ เช่น ขณะที่ สโต อยู่ที่ 100 และค่าราคาเริ่มขยับกว้างขึ้นทีละนิดๆ เป็นเวลานานๆ ยิ่งนานเท่าไหร่ ค่าสโต จะ ยิ่งต่ำลงเรื่อยๆ ขณะที่ราคา แทบไม่วิ่งไปไหน สโต อาจวิ่งจาก 100 จน ถึง 0 ได้
คำถาม คือ เมื่อค่าสโต ถึง 0 แล้ว นั้น เป็นการ OverSold หรือไม่ และ เป็นระดับที่ควร ลอง หรือไม่ คำตอบคือ ไม่ใช่เมื่อเกิด ปรากฏการณ์ เช่นนี้ เรามักจะเห็น เสมอ ว่า ราคา จะ ดิงลงไป อีก เพื่อ หา แนวรับ อันดับถัดไป สอง ถึงสามระดับ เพื่อจะสร้าง ชุดสโตชุดใหม่ ที่แท้จริง ขึ้นมา เราจึงสามารถ เข้า ลอง ตามสัญญานภายหลังได้กรณ๊ที่ 3 HL คงที่ และ P วิ่งดีกรณ๊ที่ 4 กรณี นอกเหนือ จาก 1 และ 2 เป็นกรณ๊ ที่เรา ชืนชอบ เราจะได้ค่าสโตที่แม่นยำ
สโต ในเชิง Multi-Time Frame (5m - 15m - 30m - 1H - 4H)ถึงแม้ว่าเรา จะ ใช้ มัลติไทม์เฟรม มาวิเคราะหื สโต แต่ พฤติกรรม ข้างต้น ไม่ได้แตกต่างกัน เลย เราจึงไม่สามารถสรุป ได้ว่า
การตัดกันของสัญญาน ใน ลักษณะ มัลติไทม์เฟรม คือ สัญญาน การเข้าชอต หรือ เข้าลอง ใดๆปรากฏการณ์ ไดเวอร์เจนท์ และ คอนเวอร์เจ้น ของจุดยอดสโตยกตัวอย่าง
ชณะที ่แท่งเทียน ขยับตามเวลา ไฮ ที่ต่ำลง และ ราคาที่ต่ำลง (จะสร้างโลใหม่ หรือไม่ก้อได้) จะทำให้ สโต เคลือนตัว ลง อย่างช้าๆ
แต่ถ้า สร้างโลใหม่ ด้วย จะทำให้ สโต เคลือนตัว ลง อย่างรวดเร็ว
ดังนั้น เมือ สโต ลง อย่างรวดเร็ว มัน บอก เรา ว่า เกิด โลใหม่ นั่น เอง=========================================================================
=========================================================================
การ เลือนไหล ของ จำนวนแท่ง จะ ทำให้ ค่า สโต ผันผวน ในความผันผวน
ไดเวอเจน คือ สิ่งหนึ่ง ที่ เราสามารถใช้ ประโยข จาก สโต
แต่ ที่ สิ่งหนึ่ง ที่ บอก เป็น นัยๆ คือ
สโต คือ การมอง ค่า สูงสุด ต่่าสุด นั่น เอง
ซึ่ง นักลงทุน ให้ความสนใจ ตรงนี้
หรืออีก นัยหนึ่ง เข้าใกล้ ค่าสุงสุด ให้ชอต เข้าใกล้ ค่า ต่ำสุด ให้ ลอง
แล้ววววว
เมื่อไหร่ หละ ที เข้าใกล้ค่าสูงสุด ต้องเข้า ลอง ?
เมื่อ ใกล้ ค่า สูงสุด ให้ ชอต ?
ใครตอบ ได้ ช่วย บอก ทีดังนั่น การปรับฐาน ที่เราได้ยิน บ่อยๆ ก้อ คือ
การ ปรับค่า ไฮโล นั่นเอง ให้เกิดการบีบตัวเล้กลงเรื่อยๆ
เพื่อที่ จะ กำหนด ทิศทางใหม่ตัวอย่าง การใช้งานสโต
ต้องใช้เทรนไลน์เป็นหลัก แล้วสโต จะบอกจุด อิ่มตัว ณ เทรนไลน์ ได้ดี